เทคโนโลยีกับการศึกษา

เทคโนโลยี ด้านการศึกษา

เทคโนโลยี ด้านการศึกษา

 

เทคโนโลยี ด้านการศึกษา – การศึกษา หมายความว่า กระบวนการเรียนรู้ เพื่อความเจริญงอกงาม ของบุคคลและสังคม โดยการถ่ายทอดความรู้สึก การฝึก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสร้างจรรโลงความก้าวหน้า ทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อันเกิดจาก สภาพแวดล้อม สังคมการเรียนรู้ และปัจจัยเกื้อหนุน ให้บุคคลเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิต

 

การใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เป็นระบบการประยุกต์ผลิตผล ทางวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรม ผสมผสานกับหลักทาง สังคมวิทยา และมานุษยวิทยา มาใช้ในการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยครอบคลุมการจัด และออกแบบ ระบบพฤติกรรม เทคนิควิธีการ การสื่อสาร การจัดสภาพแวดล้อม การจัดการเรียนการสอน และการประเมิน

 

เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา เป็นศาสตร์ที่ประยุกต์ วิชาการต่างๆ มาจัดการเรียนการสอน ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ ตามวัตถุประสงค์ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล โดยการนำคำ “เทคโนโลยี” ซึ่งมีความหมายว่าเป็นศาสตร์ แห่งวิธีการ ซึ่งไม่ได้มีความหมายว่า เป็นศาสตร์แห่งเครื่องมือเพียงอย่างเดียว แต่รวมถึงวัสดุและวิธีการ เมื่อนำมาใช้ กับ “การศึกษา” จึงเป็นคำใหม่ที่มีความหมายว่า การประยุกต์เครื่องมือ วัสดุและวิธีการไปส่งเสริม ประสิทธิภาพการเรียนรู้ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมใหม่ เพื่อการเรียนรู้ “สื่อสาร” เป็น กระบวนการถ่ายทอด ข้อมูลข่าวสารจากผู้ส่งไปยังผู้รับ โดยอาศัยสื่อหรือ ช่องทางต่างๆ ให้เกิดความ เข้าใจ และเป็นแบบปฏิสัมพันธ์

 

โลกเราในปัจจุบันนี้ มีการเปลี่ยนแปลง ในด้านต่างๆ เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของด้านการศึกษา เศรษฐกิจ และสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเรื่องของเทคโนโลยี สารสนเทศ ในปัจจุบัน จะสังเกตได้ชัดเจนว่าเทคโนโลยีต่างๆนั้น ได้มีการพัฒนาอย่างล้ำสมัย ซึ่งส่งผลให้เกิดความสะดวกต่อการ ใช้งานในปัจจุบันและ ในอนาคตปัจจุบันความก้าวหน้า ของเทคโนโลยีสารสนเทศได้ มีบทบาทสำคัญต่อวิถีชีวิต และสังคมของมนุษย์ เทคโนโลยีสารสนเทศ ในปัจจุบันได้บูรณาการเข้าสู่ระบบธุรกิจ ดังนั้นองค์การ ที่จะอยู่รอดและมีพัฒนาการ ต้องสามารถปรับตัวและจัดการกับเทคโนโลยี อย่างเหมาะสม โดยหัวข้อนี้จะกล่าวถึง เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่จะมีผลต่อการดำเนินธุรกิจ ในอนาคต เพื่อให้ผู้บริหารในฐานะหัวใจสำคัญ ของการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์การได้ศึกษา แต่เนื่องจากการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศอาจทำให้เทคโนโลยี ที่กล่าวถึงในที่นี้ล้าสมัยได้ ในระยะเวลาอันรวดเร็ว

 

เทคโนโลยี เป็นการนำเอาแนวความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี กระบวนการ ตลอดจนผลผลิต ทางวิทยาศาสตร์ทั้งในด้าน สิ่งประดิษฐ์และวิธีปฏิบัติมาประยุกต์ ใช้ในระบบงานเพื่อช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ในการทำงานให้ดียิ่งขึ้น และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผล ของงานให้มีมากยิ่งขึ้น

 

การนำเทคโนโลยีมาใช้กับงาน ในสาขาใดสาขาหนึ่งนั้น เทคโนโลยีจะมีส่วนช่วยสำคัญ 3 ประการ และถือเป็นเกณฑ์ ในการพิจารณานำเทคโนโลยีมาใช้ด้วย คือ

 

  1. ประสิทธิภาพ ( Efficiency ) เทคโนโลยีจะช่วยให้การทำงานบรรลุผล ตามเป้าหมายได้อย่างเที่ยงตรง และรวดเร็ว

 

  1. ประสิทธิผล ( Productivity ) เป็นการทำงานเพื่อให้ได้ผลผลิตออกมาอย่างเต็มที่ มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ เพื่อให้ได้ประสิทธิผลสูงสุด

 

  1. ประหยัด ( Economy ) เป็นการประหยัดทั้งเวลาและแรงงาน ในการทำงานด้วยการลงทุนน้อย แต่ได้ผลมากกว่าที่ลงทุนไป

 

เทคโนโลยีสมัยใหม่การศึกษา ในปัจจุบันการดำเนินกิจการงานด้านต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพจะใช้เทคโนโลยีเข้าไปช่วยเป็นส่วนใหญ่ เทคโนโลยีจึงมีความเกี่ยวข้องกับระบบงานด้านต่าง ๆทุกแขนง ถ้านำไปใช้แก้ปัญหาในแขนงใด จะเรียกเทคโนโลยีในด้านนั้น เช่น เทคโนโลยีทางการแพทย์ เทคโนโลยีทางการเกษตร เทคโนโลยีทางการอุตสาหกรรม เป็นต้น ในวงการศึกษาก็เช่นเดียวกัน มีปัญหาต่าง ๆ มากมายที่จะต้องปรับปรุงแก้ไขจึงเกิดเทคโนโลยีทางการศึกษาขึ้น

 

การนำเทคโนโลยีมาใช้ในด้านต่างๆ เพื่อศึกษาพัฒนาต่อไป

 

1.ด้านสิ่งแวดล้อม และทรัพยากร ธรรมชาติ นาเอาเทคโนโลยีที่เรียกว่า GIS (Geographic Information System) เข้ามาจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลทางภูมิศาสตร์ โดยกาหนดข้อมูลด้านตาแหน่งที่ตั้งบนผิวโลก (ground position) ซึ่งรวบรวม จากแหล่งต่างๆ ทั้งข้อมูลพื้นที่ แผนที่ รูปถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายทางดาวเทียม เพื่อ นามาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาผังเมือง ประยุกต์ใช้งานทางด้านธรณีวิทยา การ พยากรณ์อากาศและการควบคุมสิ่งแวดล้อม

 

2.ด้านการแพทย์และสาธารณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้เริ่มต้งแต่การทาทะเบียนคนไข้การรักษาพยาบาลทั่วไป ตลอดจนการวินิจฉัยและรักษาโรคต่างๆ ได้อย่ารวดเร็วและแม่นยา นอกจากนี้ยังใช้ในห้องทดลอง การศึกษาและการ วิจัยทางการแพทย์ รักษาคนไข้ด้วยระบบการรักษาทางไกลตลอดเวลาผ่านเครือข่ายการสื่อสาร เครื่องเอ็กซเรย์ คอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า อีเอ็มไอสแกนเนอร์ ( EMI scanner ) ถูกนามาใช้ถ่ายภาพสมองมนุษย์เพื่อตรวจหา ความผิดปกติในสมอง เช่น ดูเนื้องอกพยาธิเลือดออกในสมอง

 

3.ด้านสังคม เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้พัฒนาสังคมให้เกิดการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์ เช่นโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามพระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เข้าไปช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคมได้มีคอมพิวเตอร์ใช้ เช่น โรงเรียนชนบท คนป่วยเรื้อรังในโรงพยาบาลผู้ต้องขัง และคนตาบอดที่สามารถอ่านหนังสือได้ด้วย ระบบ DAISY(Digital Accessible Information System)

 

4.ด้านอุตสาหกรรม การนาเทคโนโลยีมาใช้ในการผลิต ทาให้ประสิทธิภาพในการผลิตเพิ่มขึ้น แล้วยังช่วยประหยัดแรงงาน ลดต้นทุนและรักษาสภาพแวดล้อม เทคโนโลยีที่มีบทบาทในการพัฒนาอุตสาหกรรมในประเทศไทย เช่น คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีชีวภาพและพันธุกรรม วิศวกรรม เทคโนโลยีเลเซอร์ การแพทย์ เทคโนโลยีพลังงาน เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์ เช่น พลาสติก แก้ว วัสดุก่อสร้าง โลหะ

 

5.ด้านการเกษตร ใช้เทคโนโลยีในการเพิ่มผลผลิต ปรับปรุงพันธุ์ เป็นต้น เทคโนโลยีมีบทบาทในการพัฒนาอย่างมาก แต่ ทั้งนี้การนาเทคโนโลยีมาใช้ในการพัฒนาจะต้องศึกษาปัจจัยแวดล้อมหลายด้าน เช่น ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม ความ เสมอภาคในโอกาสและการแข่งขันทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อให้เกิดความ ผสมกลมกลืนต่อการพัฒนาประเทศ

 

6.ด้านการเงินการธนาคาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารถูกนามาใช้ในด้านการเงินและธนาคาร โดยใช้ช่วยงานด้นบัญชี การ ฝากถอนเงิน โอนเงิน บริการสินเชื่อ แลกเปลี่ยนเงินตรา บริการข่าวสารการธนาคาร การใช้คอมพิวเตอร์ด้านการเงิน การธนาคารที่รู้จักและนิยมใช้กันทั่วไป เช่น บริการฝากถอนเงิน การโอนเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ ทาให้เกิดความ สะดวกรวดเร็วต่อการดาเนินธุรกิจต่างๆ

 

7.ด้านความมั่นคง มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกันอย่างแพร่หลาย เช่น ใช้ในการควบคุมประสานงานวงจร สื่อสารทหาร การแปลรหัสลับในงานจารกรรมระหว่างประเทศ การส่งดาวทียมและการคานวณวิถีการโคจรของจรวด ไปสู่อวกาศ สานักงานตารวจแห่งชาติของประเทศไทยมีศูนย์ประมวลข่าวสาร มีระบบมีระบบจัดทาระเบียนปืน ทะเบียนประวัติอาชญากร ทาให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสืบสวนคดีต่างๆ ตัวอย่าง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารก้านความมั่นคง

 

8.ด้านการคมนาคม มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในส่วนที่เกี่ยวกับการเดินทาง เช่น การเดินทางโดยรถไฟ มีกร เชื่อมโยงข้อมูลการจองที่นั่งไปยังทุกสถานี ทาให้สะดวกต่อผู้โดยสาร การเช็คอินของสายการบิน ได้จัดทาเครื่องมือที่ สะดวกต่อลูกค้า ในรูปแบบของการเช็คอินด้วยตนเอง

 

9.ด้านวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการออกแบบ หรือจาลองสภาวการณ์ต่างๆ เช่น การรับ แรงสั่นสะเทือนของอาคารเมื่อเกิดแผ่นดินไหว โดยการคานวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริง ตัวอย่าง ซอฟแวร์การเกิดแผ่นดินไหว

 

10.ด้านการพาณิชย์ องค์กรในภาคธุรกิจใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการบริหารจัดการ เพื่อช่วยเพิ่ม ความยืดหยุ่นให้กับองค์กรในการทางาน ทาให้การประสานงานหรือการทากิจกรรมต่างๆ ของแต่ละหน่วยงานใน องค์กร หรือระหว่างองค์กรเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถนามาใช้ปรับปรุงการให้บริการ กับลูกค้าซึ่งเป็นการสร้างภาพพจน์ที่ดีขององค์กรต่อลูกค้าทั่วไป สิ่งเหล่านี้นับเป็นการสร้างโอกาสความได้เปรียบแช่ง ขันให้กับองค์กร ตัวอย่างของการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในด้านการพาณิชย์ เช่น การให้บริการ ชาระค่าสินค้าบริการ การสั่งซื้อสินค้าทางอินเทอร์เน็ต และการตรวจสอบราคาสินค้าผ่านเครื่องอ่านราคาสินค้า